-
ศัลยศาสตร์ช่องปาก
Part : Mechanism of diseases
1.การเจริญเติบโตลักษณะทางกายวิภาคและจุลกายวิภาคของเนื้อเยื่ออ่อน-แข็งฟันกระดูกขากรรไกรและใบหน้า รวมถึงความผิดปกติ
2. ระบบประสาทของบริเวณอวัยวะในช่องปาก กระดูกขากรรไกรและใบหน้าศีรษะและลำคอ
3. สามารถอธิบายสรีรวิทยาของบริเวณอวัยวะในช่องปากกระดูกขากรรไกร และใบหน้า ศีรษะและลำคอ
4. เภสัชวิทยา การนำไปใช้ การบริหารจัดการยา การแพ้ยา และผลข้างเคียงของยาที่ใช้บ่อยในการรักษาโรคของอวัยวะในช่องปาก กระดูกขากรรไกร และใบหน้า ศีรษะและลำคอ
5. การเลือกใช้ยาต้านจุลชีพและสารเคมีในการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจากการปฏิบัติงานทางทันตกรรมและศัลยกรรม (Infection control)
6. ภาวะการติดเชื้อในช่องปากที่มีสาเหตุจากฟัน
7. ผลของการบาดเจ็บของอวัยวะในช่องปาก กระดูกขากรรไกรและใบหน้า ศีรษะและลำคอ
8. การเกิดถุงน้ำ เนื้องอก มะเร็ง ของอวัยวะในช่องปาก กระดูกขากรรไกรและใบหน้า
9. สาเหตุปัจจัยเสี่ยงของโรคในช่องปากที่พบบ่อยทางศัลยศาสตร์ช่องปากและใบหน้า
10. ภาวะการติดเชื้อในช่องปากที่มีสาเหตุจากฟัน
11. Mechanism of wound healing: soft and hard tissues
Part : Data gathering & Diagnosis
1. การซักประวัติทั่วไปของผู้ป่วยศัลยศาสตร์ช่องปากและใบหน้า
2. การซักประวัติทางการแพทย์และทางทันตกรรม
3. บันทึกข้อมูลการซักประวัติและการตรวจผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องครบถ้วนและเป็นระบบ
4. เขียนใบส่งต่อและปรึกษาได้อย่างถูกต้อง
5. การเลือกและใช้เครื่องมือในการตรวจ วิธีการตรวจ และทำการตรวจผู้ป่วยศัลยศาสตร์ท้ังในและนอกช่องปากได้อย่างเหมาะสม รวมถึงวัดสัญญาณชีพ
6. การเลือกเทคนิคถ่ายภาพทางรังสีที่เหมาะสมกับการวินิจฉัยและวางแผนรักษา
7. วิธีการตรวจทางพยาธิวิทยาและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
8. ประเมินผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคทางระบบ ที่ส่งผลต่อการรักษาทางศัลยศาสตร์ช่องปาก
9. การประเมินผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของกะโหลกศีรษะ ใบหน้า ขากรรไกร
10. การประเมินสภาวะผู้ป่วยที่มีโรคทางระบบ ที่ได้รับรังสีรักษาหรือเคมีบำบัด ก่อนให้การรักษาทางทันตกรรม
11. การประเมินความเจ็บปวดและความวิตกกังวลของผู้ป่วย
12. การแปลผลการตรวจภาพถ่ายรังสี การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจอื่นๆ
13. การวินิจฉัยโรคของอวัยวะในช่องปากและใบหน้าที่พบบ่อย
14. วินิจฉัยโรคช่องปากที่ไม่ซับซ้อนและพยากรณ์โรคที่ต้องรักษาทางศัลยศาสตร์ช่องปากได้อย่างถูกต้อง
15. วินิจฉัยแยกโรคเบื้องต้นของโรคของอวัยวะในช่องปากและใบหน้า ศีรษะและลำคอ
Part : Pt.management& treatment
1.ข้อบ่งชี้และขั้นตอนการรักษาทางศัลยกรรมในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของกะโหลกศีรษะ ใบหน้า ขากรรไกร รวมทั้งการสบฟัน
2. ข้อบ่งชี้และขั้นตอนของการบูรณะด้วยวิธีทันตกรรมรากเทียมที่ไม่ซับซ้อน
3. การให้คำปรึกษาหรือแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับฟันปลอมชนิดต่างๆ ที่ยีดติดกับรากเทียม
4. การจัดการผู้ป่วยทางทันตกรรมในลักษณะของผู้ป่วยใน
5. จัดการผู้ป่วยที่ได้รับการส่งมาหรือส่งไปขอคำปรึกษาหรือการรักษาทางทันตกรรมจากแพทย์
6. การวางแผนร่วมกับงานทันตกรรมประดิษฐ์ในการเตรียมช่องปาก เพื่อใส่ฟันเทียมโดยวิธีทางศัลยกรรม
7. การวางแผนการรักษาทางศัลยศาสตร์ช่องปากที่ไม่ยุ่งยากในผู้ป่วยโรคทางระบบที่มีผลต่อ ภาวะเลือดออกหยุดยาก การติดเชื้อของแผลผ่าตัดและการติดเชื้อทางระบบการหายของแผล ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์
8. การสื่อสารกับผู้ป่วยเก่ียวกับแผนการรักษาทางศัลยศาสตร์ช่องปากและใบหน้า
9. ทางเลือกของแผนการรักษาถอนฟัน ผ่าฟันคุด ผ่าตัดเล็กในช่องปากตามความจำเป็นและเหมาะสม สามารถอธิบายข้อดี ข้อเสียของการรักษาแต่ละแบบ
10. เลือกชนิดและใช้ยาชาเฉพาะที่ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับการรักษาทางทันตกรรม
11. การเลือกใช้ยาเพื่อการบำบัดรักษาทางทันตกรรม ตามข้อบ่งชี้และแผนการรักษา แก่ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
12. การบริหารยาตามชนิดและขนาดยาในการรักษาผู้ป่วยทันตกรรมได้อย่างถูกต้อง
13. การจัดการต่อปัญหาหรือผลข้างเคียงท่ีเกิดข้ึนจากการใช้ยาแก่ ผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
14. Indication and contraindication of tooth extraction
15. การผ่าฟันกรามคุดล่างซี่ท่ี 3
16. การถอน/ผ่าตัด รากฟันที่หักค้าง/ฟันที่เหลือแต่รากอย่างง่าย
17. การรักษา การติดเชื้อที่มีสาเหตุจากฟันอย่างง่าย
18. การจัดการแก้ไขอาการแทรกซ้อนที่ไม่ซับซ้อนท่ีเกิดข้ึนระหว่างหรือหลังการถอนฟัน/ผ่าตัดฟันคุดได้
19. การจัดการเบื้องต้นในผู้ป่วยที่ต้องได้รับการถอนฟันหรือผ่าตัดฟันคุดอย่างยาก
20. การจัดการเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บบริเวณฟัน กระดูก รองรับฟัน กระดูกขากรรไกรและเนื้อเยื่ออ่อนบริเวณช่องปากและใบหน้า
21. การจัดการเบื้องต้นในผู้ป่วยติดเชื้อที่มีสาเหตุจากฟันท่ีลุกลามเข้าช่องพังผืด
22. การจัดการเบื้องต้นในการแก้ไขอาการแทรกซ้อนรุนแรงที่เกิดข้ึน ระหว่างหรือหลังการถอนฟัน/ผ่าตัดฟันคุดได้
23. การจัดการเบื้องต้นผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของเยื่อเมือกในช่องปากและรอยโรคในกระดูกขากรรไกร
24. ระบุสาเหตุให้การวินิจฉัยและบำบัดรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากการบำบัดรักษาทางศัลยกรรม
25. การจัดการภาวะเจ็บปวดเฉียบพลัน เลือดออก การบาดเจ็บ และการติดเชื้อของอวัยวะในช่องปาก
26. การเลือกและใช้ยาและ/หรือสารเคมีในการช่วยจัดการภาวะเจ็บปวดเฉียบพลัน เลือดออก การบาดเจ็บ และการติดเชื้อขอ อวัยวะในช่องปาก
27. การจัดการความวิตกกังวลและความเจ็บปวดของผู้ป่วย
28. การใช้ยาร่วมกับวิธีการอื่นเพื่อควบคุมภาวะความเจ็บปวด และความวิตกกังวลของผู้ป่วย
Part : Procedures
1. การประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
2. การติดต่อประสานงานกับหน่วยกู้ชีพตามเครือข่ายที่สังกัด
3. การปฏิบัติการกู้ชีพเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย
4. ประเมินระดับภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ในผู้ป่วย
5. การจัดการเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินและส่งต่อผู้ป่วย
6. การจัดการภาวะฉุกเฉิน
7. การผ่าตัดฟันกรามคุดซี่ที่ 3 อย่างง่าย
8. การถอน/ผ่าตัดรากฟันที่หักค้าง/ฟันที่เหลือแต่รากอย่างง่าย
9. การรักษาการติดเชื้อที่มีสาเหตุจากฟันอย่างง่าย
10. การจัดการแก้ไขอาการแทรกซ้อนท่ีไม่ซับซ้อนท่ีเกิดข้ึนระหว่างหรือหลังการถอนฟัน/ผ่าตัดฟันคุด